เพศที่สามคืออะไร

ทำความรู้จักความหมายของคำว่าเพศที่สามในปี 2022

ในปัจจุบันนี้คำว่าเพศที่สามถูกใช้กันอย่างแพร่หลายและเป็นคำที่ถูกบัญญัติขึ้นเมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้เองเพื่อใช้เรียกบุคคลที่มีความเบี่ยงเบนทางด้านการแสดงออกที่ตรงกันข้ามกับเพศกำเนิดของตัวเอง เป็นบุคคลที่มีความนิยมในเพศเดียวกันไม่ว่าจะเป็นผู้หญิงหรือผู้ชาย แต่สำหรับคำว่าเพศที่สามนั้นจะถูกใช้เรียกบุคคลที่เป็นเพศชายที่มีความเบี่ยงเบนทางความชอบในการแสดงออกที่จะเป็นผู้หญิงมากยิ่งกว่า

จริงหรือไม่คำว่าเพศที่สามไม่ได้รับการยอมรับในสังคม 

การเรียกร้องสิทธิความเท่าเทียมกันในปัจจุบันนี้มีความอิสระและมีความเสรีมากยิ่งขึ้นรวมไปถึงการเรียกร้องสิทธิในความเท่าเทียมกันของบุคคลที่ถูกเรียกว่าเพศที่สามด้วยเช่นกันในปัจจุบันนี้คำว่าเพศที่สามได้ถูกนำมาใช้ในสังคมเพื่อใช้เรียกบุคคลที่มีเพศสภาพเป็นชายแต่มีการแสดงออกเป็นหญิงหรือมีการทำศัลยกรรมให้กลายเป็นผู้หญิงเต็มตัวแต่ในขณะเดียวกันก็ยังถูกเรียกว่าเป็นเพศที่สามอยู่ดี

ดังนั้นในปัจจุบันนี้เราจึงมักจะได้ยินข่าวที่ว่าคำว่าเพศที่สามกลายเป็นสิ่งที่ทำให้บุคคลเหล่านี้มีความแตกต่างไปจากสังคมและมีความไม่เท่าเทียมกันในขณะที่บุคคลเหล่านี้มีความรู้สึกเท่าเทียมกับบุคคลทั่วไปในสังคมแต่ถูกจำกัดสิทธิ์เพียงเพราะคำว่าเพศที่สามเท่านั้นเอง จึงทำให้เราเห็นว่าคำว่าเพศที่สามอาจจะไม่เหมาะสมกับการเรียกบุคคลกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งติดต่อไป

ทำไมถึงมีการเรียกร้องสิทธิความเท่าเทียมกันของเพศที่สาม 

หลายคนอาจจะมีความสงสัยว่าในปัจจุบันนี้การเรียกร้องสิทธิพิเศษหรือเรียกร้องความเท่าเทียมกันในสังคมของเพศที่สามนั้นมีผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตอย่างไรหรือเรียกง่าย ๆ ก็คือบุคคลเหล่านี้ไม่มีความสุขในการดำรงชีวิตในสังคมหรือไม่ ดังนั้นเรามาดูกันว่าในปัจจุบันนี้การเรียกร้องสิทธิความเท่าเทียมกันในเพศที่สามนั้นมีความสำคัญอย่างไรบ้าง

อย่างแรกเลยก็คือการจดทะเบียนสมรสซึ่งเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของการอยู่ร่วมกันในสังคมหากคู่สมรสที่เป็นชายหญิงทั่วไปต้องการที่จะจดทะเบียนสมรส ก็สามารถที่จะทำได้ไม่เป็นเรื่องปกติ และการใช้สิทธิสมรสกันนี้ ยังส่งผลไปถึงสิทธิในการรับรองในส่วนงานของข้าราชการหรือการรักษาพยาบาล เพราะถ้าเกิดว่าคู่สมรสไม่มีความเกี่ยวข้องกันการมีสิทธิ์ในบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ก็ไม่สามารถที่จะทำได้นั่นเอง

การจดทะเบียนสมรสเท่าเทียมกันมีผลดีและผลเสียอย่างไร 

การจดทะเบียนสมรสเท่าเทียมกันในสังคมไทยนั้นยังไม่ได้รับการตอบรับอย่างเป็นทางการและยังไม่มีวี่แววว่าจะเกิดขึ้นในเร็ว ๆ นี้ ดังนั้นเรามาดูกันเลยว่าทำไมกฎหมายไทยถึงไม่รองรับกันจดทะเบียนสมรสเท่าเทียมกันในขณะที่ไม่ใช่เรื่องยากที่จะดำเนินการให้แล้วเสร็จอย่างแรกเลยก็คือการจดทะเบียนสมรสเท่าเทียมกันนั้นจะทำให้คู่สมรสมีสิทธิในซึ่งกันและกัน

ไม่ว่าจะเป็นในด้านของมรดกและในด้านของการตัดสินใจซึ่งกันจดทะเบียนสมรสเท่าเทียมกันนั้น เราไม่สามารถที่จะทราบได้ไหมว่าคู่สมรสดังกล่าวได้มีการตกลงกันอย่างชัดเจน หรือเป็นไปตามธรรมชาติหรือไม่ในเรื่องของสิทธิประโยชน์เพราะอาจจะก่อให้เกิดการแฝงตัวเข้ามาเพื่อรับมรดกหรือรัฐสิทธิ์ในการเข้าถึงบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือเป็นไปในเชิงธุรกิจหรือไม่นี่ซึ่งเป็นปัญหาที่ต้องได้รับการพิจารณาอย่างละเอียด

เพราะถ้ามีการจดทะเบียนสมรสเท่าเทียมกันก็ส่งผลดีต่อคนที่เป็นคนรักเพศเดียวกันแต่ไม่ตรงกันข้ามในเชิงอาชญากรรมด้านธุรกิจก็อาจจะเกิดขึ้นนั่นเองจึงเป็นเรื่องที่ยากเมื่อมีการเปิดการจดทะเบียนสมรสเท่าเทียมกันอย่างเสรีจึงทำให้มีความล่าช้าในเรื่องของทางด้านกฎหมายนั่นเอง 

คำว่าเพศที่สามมีการแบ่งคำศัพท์แยกย่อยออกเป็นอะไรบ้าง 

รู้หรือไม่ว่าคำว่าเพศที่สามนั้นเป็นการเรียกเพศที่มีความแตกต่างและมีความชอบที่แปลกไปจากเพศสภาพของตัวเองซึ่งเป็นการเรียกกลุ่มรักร่วมเพศโดยรวมกันเองแต่ในขณะเดียวกันปัจจุบันนี้ก็มีคนรักร่วมเพศที่มีการแบ่งแยกคำศัพท์ออกไปอีกมากมายเพราะคำว่าเพศในปัจจุบันนี้บอกได้เลยว่ามีความหลากหลายและไม่มีขอบเขตกันเลยทีเดียวเรามาดูกันเลยว่าในแต่ละเพศสภาพนั้นมีการเรียกด้วยคำศัพท์อะไรบ้าง 

1. เกย์ คือ กลุ่มชายรักชายที่ยังคงมีเพศสภาพเดิมหรือไม่ได้มีการแต่งหญิงนั้นเอง

2. ไบ คำนี้ใช้เรียงกลุ่มผู้ชายที่มีความชอบและรสนิยมทางเพศทั้งผู้หญิงและผู้ชาย

3.เกย์คิง คือกลุ่มรักร่วมเพศที่มีรสนิยมทางเพศที่เป็นผู้ชายเพียงอย่างเดียว

นี้คือกลุ่มตัวอย่างของคำศัพท์ที่ใช้เรียกกลุ่มคนที่มีรสนิยมทางเพศในกลุ่มเพศเดียวกัน แต่มีความแตกต่างในเรื่องของรสนิยมทางเพศ จึงทำให้มีคำเรียกที่แตกต่างกันออกไปนั่นเอง 

การยอมรับเพศที่สามในสังคมไทย 

ถึงแม้ว่าในปัจจุบันนี้จะมีการเรียกร้องสิทธิความเท่าเทียมกันในสังคมไทยมากมายในกลุ่มของบุคคลเพศที่สามแต่ในขณะเดียวกันปัจจุบันนี้สังคมไทยก็เปิดกว้างในเรื่องของเพศที่สามเป็นอย่างมากเมื่อเทียบกับกลุ่มประเทศอื่น ๆ แล้วเพศที่สามในประเทศไทยนั้นนับว่ามีความอิสระเสรี ในการดำรงชีวิตเป็นอย่างมากอาจจะมีข้อจำกัดในเรื่องของสิทธิเล็ก ๆ น้อย ๆ แต่การใช้ชื่อนามสกุลหรือสิทธิในการใช้คำนำหน้าชื่อย่อตนเอง

แต่อย่างไรก็ดีในสังคมไทยนับว่าเป็นตัวอย่างที่ดีมาก ๆ เลยเรื่องของการปฏิบัติต่อบุคคลเพศที่สามดังนั้นหากเราจะมองว่าสังคมไทยของเราเปิดกว้างมากขนาดไหนบอกได้เลยว่ามีความอิสระแบบเต็ม ๆ ในเรื่องของการดำรงชีวิตและสังคมไทยก็ยังมีแนวโน้มในเรื่องของกฎหมายที่จะมีความอิสระต่อเพศที่สามมากขึ้นไปอีกด้วย 

แนวโน้มเชิงบวกในด้านอาชีพของเพศที่สามมีการยอมรับมากยิ่งขึ้น 

เมื่อพูดถึงกลุ่มสายงานอาชีพเมื่อเทียบกับอดีตแล้วปัจจุบันนี้กลุ่มบุคคลเพศที่สามในประเทศไทยนับว่ามีความอิสระในด้านของการประกอบอาชีพมากยิ่งขึ้น จึงทำให้การดำเนินชีวิตในสังคมไทย ตอนนี้การสร้างอาชีพสำหรับเพศที่สาม เป็นเรื่องที่เป็นปกติและไม่ใช่เรื่องแปลกแต่อย่างใดจะได้ตรงกันข้ามสิทธิต่าง ๆ ในด้านของเพศสภาพนั้น ยังคงต้องได้รับการถูกต้องตามกฎหมายอีกจำนวนไม่น้อย